10 เทคนิคเก็งกำไร ขายรถยนต์มือสอง ในฉบับง่ายๆ ที่ไม่มีใครเคยบอกคุณ รู้ก่อน ขายก่อน ได้เปรียบ
10 เทคนิคเก็งกำไร ขายรถยนต์มือสอง ในฉบับง่ายๆ ที่ไม่มีใครเคยบอกคุณ รู้ก่อน ขายก่อน ได้เปรียบ
กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์คืออะไร แนะนำให้กดเข้ามาอ่านกันเลยครับ รับลองมีประโยชน์กับเพื่อนอย่างแน่นอน
อยากรู้ไหมว่า สอบใบขับขี่ปี 2560 มีอะไรเพิ่มเติมขึ้นมาบ้างแนะนำให้กดคลิกเข้าไปอ่านเลย รับลองมีประโยชน์อย่างแน่นอน
การต่อภาษี รถยนต์ ถือเป็นหน้าที่อย่างหนึ่งของเจ้าของรถ โดยการต่อภาษีรถยนต์ต้องทำทุกปี ถ้าต่อภาษีล่าช้าจะต้องถูกปรับย้อนหลังนับตั้งแต่วันที่หมดอายุ และถ้าไม่ชำระภาษีนานเกิน 3 ปีจะต้องถูกเพิกถอนทะเบียนรถคันดังกล่าว สำหรับรถยนต์ที่มีอายุเกินกว่า 7 ปีและรถจักรยานยนต์ที่มีอายุเกินกว่า 5 ปี เจ้าของรถจะต้องนำรถเข้าไปตรวจสภาพเสียก่อนโดยสามารถไปตรวจได้ที่กรมการขนส่งทางบก หรือสถานตรวจรถของเอกชนที่ได้รับการรับรอง (หรือที่เรียกว่า ตรอ.) โดยเอกสารที่ต้องใช้ในการต่อภาษีรถยนต์มีดังนี้
วิธีการต่อภาษีรถยนต์ในอดีตที่ผ่านมา เจ้าของรถจะต้องเตรียมเอกสารสมุดรายการจดทะเบียนรถ และหลักฐานการต่อประกันภาคบังคับ (พ.ร.บ.) เพื่อไปดำเนินการต่อภาษีที่กรมการขนส่งทางบกที่ใกล้บ้านหรือสะดวกที่สุด ต่อมาได้มีการเพิ่มสถานที่ในการต่อภาษีรถยนต์ได้แก่ ธนาคารหรือห้างสรรพสินค้าที่ใกล้บ้าน แต่ก็ยังต้องมีการเตรียมเอกสารให้พร้อมก่อนจะไปดำเนินเรื่อง แต่ในปัจจุบันนี้ (พ.ศ.2560) ทางกรมการขนส่งทางบกได้เพิ่มช่องทางการต่อภาษีรถยนต์โดยผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกกันง่ายๆ ว่าการ ต่อภาษีออนไลน์ ซึ่งมีวิธีและขั้นตอนดังนี้
รถยนต์ถือเป็นทรัพย์สินที่มีมูลค่าสูงชนิดหนึ่ง โดยมีราคาได้ตั้งแต่หลักหลายแสนไปจนถึงสิบล้าน การซื้อขายรถยนต์ ระหว่างผู้ใช้รถด้วยกันอาจนำมาซึ่งปัญหาการทุจริตต่างๆ ได้ เช่น ผู้ซื้อจ่ายเงินแล้วแต่ผู้ขายไม่ยอมโอนกรรมสิทธิ์รถยนต์ให้เป็นของผู้ซื้อ ซึ่งในจุดนี้กรมการขนส่งทางบกจึงเข้ามามีบทบาทเป็นคนกลางในการซื้อขายรถยนต์เพื่อขจัดปัญหาเหล่านี้ โดยเมื่อมีการซื้อขายรถยนต์จะต้องมีการโอนกรรมสิทธิ์รถจากผู้ขายไปสู่ผู้ซื้อ ซึ่งต้องดำเนินการที่กรมการขนส่งทางบกเท่านั้น โดยทั่วไปการโอนกรรมสิทธิ์รถจะต้องใช้เอกสารดังต่อไปนี้
ผู้ทำประกันหลายๆ ท่านมักจะมีความเข้าใจว่า ประกันชั้น 1 เป็น ประกัน ที่ให้ความคุ้มครอง (หมายถึงชดเชยค่าเสียหายให้) ในทุกกรณี ไม่ว่าจะเป็นภัยต่างๆ ที่เกิดกับตัวรถ เช่น รถหาย ไฟไหม้ น้ำท่วม หรือภัยจากอุบัติเหตุที่แม้จะเป็นฝ่ายผิดก็คุ้มครอง ซึ่งความเข้าใจในลักษณะนี้ไม่ได้ผิดและไม่ได้ถูกไปทั้งหมด โดยประกันชั้น 1 ไม่ได้ให้ความคุ้มครองในทุกกรณีแต่เป็นประกันที่ให้ความคุ้มครองมากที่สุดในบรรดาประกันภัยรถยนต์ทุกประเภท ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างเหตุการณ์หรือข้อยกเว้นที่ประกันชั้น 1 จะไม่จ่ายค่าชดเชยให้กับผู้ทำประกัน
สำหรับยานพาหนะทุกประเภทที่ประชาชนใช้ขับขี่อยู่ในประเทศไทยจะมีสิ่งสำคัญที่จะต้องทำคือการทำ ประกัน ภาคบังคับหรือที่เรียกอีกชื่อว่า พรบ. และการเสียภาษีประจำปีหรืออาจจะเรียกอีกแบบหนึ่งว่าการต่อทะเบียนรถ สำหรับเหตุผลในข้อบังคับที่ต้องทำเช่นนั้นก็คือ พรบ.ถือเป็นประกันภัยที่จะคุ้มครองทั้งผู้ขับขี่และผู้เสียหายซึ่งอาจจะเป็นผู้คนที่เดินสัญจรไปมา ให้ได้รับการรักษาพยาบาลหรือค่าจัดการศพเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นแล้วมีการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต ในส่วนของการต่อภาษีประจำปีถือเป็นหน้าที่ของประชาชนคนไทยปกติอยู่แล้ว สำหรับขั้นตอนการต่อ พรบ. รถจักรยานยนต์โดยทั่วไปนั้นมีขั้นตอนดังนี้